Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Chiloscyllium hasseltii
Chiloscyllium hasseltii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Chiloscyllium dolganovi Kharin, 1987
ชื่อสามัญ::
-
Chalarm Gob
-
Indonesian bambooshark
-
Indonesian bambooshark, Hasselt's bambooshark
-
Hasselt's bamboo shark
ชื่อไทย:
-
ฉลามกบ, ฉลามหิน, ฉลามลายตุ๊กแก
-
ปลาฉลามกบ, ปลาฉลามหิน, ปลาฉลามลายตุ๊กแก
-
ฉลามกบ, ฉลามทราย
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
โอภาส ชามะสนธิ์ และ ไพรินทร์ เพ็ญประไพ
ปรับปรุงล่าสุด :
19 เม.ย. 2567
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา และ Dr. Ahmad Ali
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาฉลามขนาดเล็ก ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ส่วนหัวค่อนข้างแบนลงเล็กน้อย ส่วนหัวค่อนข้างกลมมน ตาอยู่ทางด้านบนในแนวข้างของส่วนหัว ช่อง spiracle มีขนาดใหญ่เกือบเท่าตาอยู่ทางด้านหลังหรือตํ่ากว่าขอบล่างของตาเพียงเล็กน้อย ช่องเปิดของจมูกสั้น มีร่องเชื่อมระหว่างจมูกกับปาก ปากมีขนาดเล็กตำแหน่งเปิดในแนวขวางของส่วนหัวอยู่ทางด้านหน้าของตา ฟันบนขากรรไกรมีรูปร่างหลากหลาย หนวดที่จมูกสั้น ช่องเปิดเหงือกมีขนาดเล็ก มีจำนวน 5 ช่อง โดยช่องที่ 4 เหลื่อมซ้อนอยู่กับช่องที่ 5 ครีบหลังทั้งสองตอนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบหลังตอนแรกอยู่หลังจุดเริ่มต้นของครีบท้อง จุดเริ่มต้นของครีบหลังตอนที่สองอยู่หน้าจุดกำเนิดของครีบก้น ครีบหูมีขนาดเล็กและกลม ครีบก้นกลมมีขนาดเล็กและสั้นแยกออกจากครีบหางด้วยร่องตื้นๆ ครีบหางยาว ในช่วงระยะวัยรุ่น มีพื้นลำตัวสีเทาดำและมีลายขวางสีเข้มพาดผ่าน แต่เมื่อโตเป็นตัวเต็มวัย ลำตัวจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเทา ไม่มีลายขวาง มักมีจุดสีดำขนาดเล็กกระจายอยูทั่วลำตัว
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณอ่าวไทยตอนใน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคหรือแปรรูปทำปลาหวาน ลูกชิ้น และตากแห้ง ครีบใช้ทำหูฉลามตากแห้ง ตับใช้เป็นส่วนผสมอาหารสัตว์ ส่วนปลาที่มีชีวิตสามารถนำมาเลี้ยงและเพาะพันธุ์ในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ชนิดปลาบริเวณอ่าวไทยตอนในจากเรือสำรวจประมง 2, กรมประมง, 2563
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Poritta hewitsoni
Onthophagus manupurensis
Chironephathya cornigera
-
Favolus alvalveolaria
ปลาตองกราย
Chitala
Phenacovolva coarctata
Previous
Next